วันจันทร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

Networking Animation

1.การติดต่อสื่อสารที่ไม่มีเครือข่ายระหว่างคอมพิวเตอร์กับเครื่องพิมพ์ ทำให้เกิดความล่าช้าต่อการทำงานเพราะต้องบันทึกข้อมุลลงในแผ่นเก็บข้อมุล แล้วจึงนำมาข้อมุลไปสั่งพิมพือีกที่หนึ่ง2.HUB คือ อุปกรณ์ทีใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการกระจายสัญญาณ เมื่อเครื่องหนึ่งต้องการส่งสัญญาณไปอีกเครื่องหนึ่ง ตัว hub จะทำหน้าที่ส่งออกไปให้กับทุกเครื่อง ถ้าเครื่องเป็นผู้รับ ก็จะรับข้อมูลไป ถ้าไม่ใช้ก็จะไม่รับ3.Switch: คืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณเช่นเดียวกับ Hub สิ่งที่ Switch แตกต่างจาก Hub ก็คือ Switch จะมีการแยก Collision Domain ของพอร์ตเชื่อมต่อออกจากกัน Hub จะกระจายสัญญาณไปที่ทูกๆพอร์ตแต่ Switch นั้นจะเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเข้ากับพอร์ตๆหนึ่งเท่านั้น โดยที่ Switch จะทำการบันทึก Address ของเครื่องเอาไว้ในการติดต่อกันในครั้งแรก ในการกระจายสัญญาณครั้งต่อไป Switch จะรู้ทันทีว่าสัญญาณที่รับมานั้นเมื่อขยายสัญญาณแล้วจะกระจายไปยังพอร์ตใด ซึงเป็นข้อเด่นของ Switch ที่ทำการรับ-ส่งข้อมูลได้เร็วกว่า Hub4.ในการเชื่อมต่อ เครื่องพิมพ์กับคอมพิวเตอร์ไว้โดนผ่าน Switch จะสามารถสั่งทำงานได้โดยเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดก็ได้ แต่ในการ บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง โดยไม่ได้บันทึกไว้ที่ เซิร์ฟเวอร์ หาก ผู้ใช้ต้องการไปเปิดไฟล์ข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ก็ไม่สามารถใช้ข้อมูลที่บันทึกนั้นได้5.แต่ถ้ามีเซิร์ฟเวอร์ไว้เก็บข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง หาก ผู้ใช้ต้องการไปเปิดไฟล์ข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ก็สามารถใช้ข้อมูลที่บันทึกนั้นได้6.หากต้องการเพิ่มการเชื่อมต่อโดยที่ port เต็มแล้ว สามารถ นำ Switch มาเชื่อมต่อเพิ่มได้7. ARP(Address Resolution Protocol) เป็นโปรโตคอลชนิดหนึ่งที่เป็นกลางในการสื่อสารการจับคู่ระหว่างIP address กับตำแหน่งของอุปกรณ์ในเครือข่าย การระบุตำแหน่งของอุปกรณ์รู้จักในชื่อของMAC address8. การส่งข้อมูลในหลายๆเครือข่ายโดยที่ IP address และ MAC addressของคอมพิวเตอร์ต้นทางและปลายทางแตกต่างกันจะมีrouter เป็นตัวอ่านและปรับเปลี่ยนเพื่อให้เข้ากับแหล่งที่มาปลายทางไหม่9.Dynamic Host Configuration Protocol (DHCP)จะเป็นตัวจ่าย IP ให้แก่เครื่องลูก (clients) โดยอัตโนมัติ สำหรับเน็ตเวอร์ที่มีเครื่องลูกหลายเครื่อง การกำหนด IP ให้แต่ละเครื่องบางครั้งก็ยากในการจดจำ ว่ากำหนด IP ให้ไปเป็นเบอร์อะไรบ้างแล้ว พอมีเครื่องเพิ่มเข้ามาในเน็ตเวอร์กใหม่ ต้องกลับไปค้น เพื่อจะ assign เบอร์ IP ใหม่ไม่ให้ซ้ำกับเบอร์เดิม DHCP Server จะทำหน้าที่นี้แทน โดยเครื่องลูกเครื่องไหนเปิดเครื่อง ก็จะขอ IP มายัง DHCP Server และ DHCP Server ก็จะกำหนด IP ไปให้เครื่องลูกเอง โดยไม่ซ้ำกัน10. Routing Protocol คือโพรโทคอลที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน routing table ระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆที่ทำงานในระดับ Network Layer (Layer 3) เช่น Router เพื่อให้อุปกรณ์เหล่านี้สามารถส่งข้อมูล (IP packet) ไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทางได้อย่างถูกต้อง โดยที่ผู้ดูแลเครือข่ายไม่ต้องแก้ไขข้อมูล routing table ของอุปกรณ์ต่างๆตลอดเวลา เรียกว่าการทำงานของ Routing Protocol ทำให้เกิดการใช้งาน dynamic routing ต่อระบบเครือข่าย11. Subnets เป็นพารามิเตอร์ (Parameter) อีกตัวหนึ่งที่ต้องระบุควบคู่กับหมายเลข IP Address เพื่อทำหน้าที่ช่วยแยกแยะว่าส่วนใดภายในหมายเลข IP Address เป็น Network Address และส่วนใดเป็นหมายเลข Host Address ดังนั้น เมื่อเราระบุ IP Address ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์์ เราจำเป็นต้องระบุ Subnet mask ลงไปด้วยทุกครั้ง โดย Subnet Mask จะประกอบด้วยตัวเลข 4 ตัว ที่คั่นด้วยจุด เช่น 255.255.255.0 วิธีการที่จะบอกว่าคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องอยู่ในเครือข่ายวงเดียวกัน (หรือพูดอีกอย่างหนึ่ง ก็คืออยู่ใน subnet เดียวกัน) หรือเปล่า สามารถทำได้โดยเอา Network Mask มา AND กับ IP Address ถ้าได้ค่าตรงกัน แสดงว่าอยู่ใน subnet เดียวกัน ถ้าได้ค่าไม่ตรงกัน ก็แสดงว่าอยู่คนละ subnet12.TCP จะใช้หลักการของ three-way hanshake เพื่อทำการสร้าง connection ขึ้นโดย Client จะทำการส่ง SYN ไปให้ server เพื่อขอสร้าง connection Server จะทำการ replies มาด้วยการส่ง SYN-ACK และ Client จะทำการส่ง ACK กลับไปหา server จากนั้นทั้ง client และ server จะมี connection เกิดขึ้นแล้ว13. ระบบ TCP multiplexing ช่วย เพิ่ม ประสิทธิภาพ ของ เซิร์ฟเวอร์ หรือ บริการ อินเทอร์เน็ตโดยทำ หน้าที่เป็นตัวต่อ เซิร์ฟเวอร์ แคช และ เครือ ข่าย การ จัด ส่ง14.การส่งข้อมูลจาก East Network ไปยัง West Network และส่งกลับคืนมาเท่ากับค่า64แล้วส่งกลับไปยังเครื่อง West Network แล้วจะส่งกลับมายัง East Network=72,8015.การส่งสัญญาณโดยใช้สัญญาณโทรศัพท์16.การส่งข้อมูลดดยไปยัง Network สามารถเดินทางได้สองเส้นทาง แต่บางครั้งเส้นทางที่หนึ่งก็ทำให้ข้อมุลเสียหายได้17.บัฟเฟ่อร์ คือ การพักข้อมุลจากคอมพิวเตอรืสองตัว ซึ่งอาจจะมีการทำงานไม่เท่ากันทำการพักข้อมุลเพื่อให้ข้อมูลของคอมพิวเตอร์ที่มีความเร้วและช้าทำงานร่วมกัน18.การส่งข้อมุลจาก East Network ไปยัง West Network และส่งข้อมลกลับไปที่ East Network โดยมี Router เป็นสื่อในการส่งต่อ19.การค้นหาข้อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต www.nst.gov เมื่อพบข้อมูล www.nst.gov จะส่งกลับมา20.User1@umassd.edv ไปยัง User2@net-seal.net โดยผ่านทาง Mail Server mail.Umassd.edu แล้วส่งผ่านทาง Mail Sever mail.net-seal.net โดยใช้สื่อกลางในการส่ง คือ Router21.การเชื่อมต่อของคอมพิวเตอร์จากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งโดยไม่ต้องใช้สายส่งสัญญาณ22.การส่งข้อมูลจาก West Network ไปยัง East Network โดยส่งผ่านทาง Router ชื่อ Intermediate Router Using TPv4 โดยการกำหนด TPv623.การส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่งโดยคอมพวเตอร์ที่เป็นตัวรับจะทำการปลดล็อคเพื่อที่จะให้คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งส่งข้อมูลมายังเครื่องที่รับได้24.ป้องกันการ login ที่ไม่ได้รับอนุญาตที่มาจากภายนอกเครือข่าย - ปิดกั้นไม่ให้ traffic จากนอกเครือข่ายเข้ามาภายในเครือข่ายแต่ก็ยอมให้ผู้ที่อยู่ภายในเครือข่ายสามารถติดต่อกับโลกภายนอกได้ - เป็นจุดรวมสำหรับการรักษาความปลอดภัยและการทำ นอกจากไฟร์วอลล์จะต้องเชื่อมต่อเฉพาะเว็บไซต์ส่วนตัว ในไฟร์วอลล์มีการกำหนดกฎโดยผู้ดูแลระบบเครือข่ายของไซต์เอกชน กฎเหล่านี้ให้ไฟร์วอลล์เพื่อระบุการเข้าชมเครือข่ายที่สามารถส่งต่อและปริมาณที่ควรจะกรอง25.คอมพิวเตอรืจะทำการ Buffer ข้อมูลส่งให้กับ Router จทำการ receive buffer แล้วส่งกลับมายังคอมพิวเตอร์26.การ buffer ข้อมูล และจะส่งที่ละสามข้อมูลให้ Router จากนั้น Router จะทำการส่งข้อมุลกลับไปสามตัวเหมือนเดิม27.การส่งข้อมูลไปยัง Router ทีละสามข้อมุลแต่ส่งกลับมาช้ามาก และมีการทำงานทั้งหมดหกเฟรม
28.คือการส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ตัวแรกโดยทำการเช็คว่าเป็นAppication,presenttation,Session,Transport,Network,Data ling ,Physicalแล้วส่งต่อไปยัง Bthemet LAN แล้วทำการเช็ค แล้วส่งไปที่ ATM WAN แล้วทำการเช็คตัวที่สอง แล้วส่งไปทาง Ethenet LAN แล้วทำการเช็คอีกครั้ง
29.เมื่อส่ง Files จากเครื่องคอมพิวเตอร์สีฟ้า และ Files เครื่องคอมพิวเตอรืสีแดง ไปยัง Files; netseal.jpg index.html แล้วส่งกลับไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองก็จะมี Files ชื่อ netseal.jpg ต่อมาก็ส่ง Files จากเครื่องคอมพิวเตอร์สีเขียวกับสีเหลืองไปยัง Files;netseal.jpg indax.html เหมือนเดิมแล้วจะส่งกลับไปยังที่เดิมเป็น Files;netseal.jpgเหมือนเดิม
30.Ad-Hoc Network แตกต่างจากเครือข่ายไร้สายบริหาร Ad-Hoc Network เป็นเครือข่ายไร้สายที่ไม่ต้องการจุดเชื่อมในการจัดการการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ของ คอมพิวเตอร์แต่ละใน Ad-Hoc Network สามารถส่งข้อมูลระหว่างคู่อื่นๆคอมพิวเตอร์ (คือสามารถกระทำ เช่น เราเตอร์) คอมพิวเตอร์ที่สามารถเข้าร่วมและออกจากการ Ad-Hoc Network แบบไดนามิก ดังนั้นเส้นทางในการส่งข้อมูลจากผู้ส่งที่จะรับพิจารณาตามการเชื่อมต่อเครือข่าย ความล้มเหลวหรือออกของเครื่องคอมพิวเตอร์ตามเส้นทางดังกล่าวจะทำให้อัตโนมัติ rerouting ข้อมูล ดังนั้น Ad-Hoc Network มีภูมิคุ้มกันต่อจุดเดียวของความล้มเหลวต่างจากความล้มเหลวของจุดเชื่อมในเครือข่ายไร้สาย

วันเสาร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

สรุปเรื่อง

1.No Network โลกจะเป็นอย่างไรถ้าไม่มีระบบเครืองข่าย
>>>ก็เหมือนกับการทำงานร่วมกันโดยไม่มีระบบ การทำงานก็จะสับสนวุ่นวายไม่มีระเบียบ ล่าช้า
2. Hub >>มีหน้าที่เป็นตัวกลางการจัดสรรค์และส่งผ่านข้อมูลโดยจัดส่งให้ถูกต้องก้ผู้รับ
โดยการระบุAddress
3. Switch >>เป้นตัวการจัดสรรค์เส้นทางของข้อมูลเพื่อให้ไปยังตำแหน่งที่ที่ถูกต้อง
เปรียบเทียบได้กับสัญญาณไฟจราจรนั่นเอง
4. switched network with no sever การทำงานของระบบเน็ทเวิคโดยไม่มีแม่ข่ายกลางนั้นย่อมทำ
ให้ระบบข้อมูลและเส้นทางสัญญาณสับสนจะไม่มีการจัดเรียงกันของงานที่สั่ง
5. switched network with sever ข้อมูลที่ถูกสั่งจะถูกเก็บใว้ที่severก่อนเพื่อจัดกลุ่มส่งออกคำสั่งตามลำดับ
6. Adding switch เมืองต้องการเพิ่มลูกข่ายเข้าไปในเครือข่ายเราสามารถทำการสร้างกลุ่มลูกข่ายย่อยขึ้นมาแล้วนำเข้าสู่แม่ข่ายทีหลังทำให้สามารถเพิ่มเติมลูกข่ายได้ไม่จำกัด
7. ARP คือการ สร้างหมายเลขบ่งชี้ลูกข่ายซึ่งสามารถทำให้การเข้าถึงกันในเครือข่ายเป้นไปอย่างถูกต้อง
8. ARP with muliple network เมื่อต้องการติดต่อสื่อสารข้ามกลุ่มเครือข่ายจำต้องมีRouterทำหน้าที่เป็นตัวแปลงและส่งผ่านข้อมูลข้ามไปยังเครืองข่ายอื่นๆ
9. DHCP คือการที่ระบบมีการสำรองข้อมูลไปยังhostเพื่อให้เกิดความแน่นอนของข้อมูล
10. routing and forwarding คือการเซ็ทระบบเส้นทางการส่งข้อมูลโดยใช้หลักการเส้นทางที่สั้นที่สุดในการทำงาน
11. IP SUPNET คือการส่งผ่านข้อมูลผ่านเครือข่ายโดยที่เครือข่ายนั้นมีเส้นทางการติดต่ออยู่แล้วจึงไม่ต้องมีการส่งข้อมูลผ่านINTERNETเพื่อให้การทำงานเร็วขึ้น
12. TCP connection คือการสร้างแพคเกจแก่ข้อมูลเพื่อทำให้ข้อมูลนั้นสามมารถส่งและรับไปมาได้เร็วยิ่งขึ้น
13. TCP muiltiplexing คือการกำหนดค่าของแพคเกจให้มีทั้งhttpและftpเพื่อการเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้อง
14. TCP buffering and sequecing คือการแยกส่งขอมูลลงในแพคเกจเป้นย่อยๆเพื่อนำข้อมุลไปรวมเป็นตัวข้อมูลจริงที่แม่ข่าย
15. User Datagram Protocol คือการส่งผ่านข้อมูลผ่านโปรโตคอลซึ่งจะมีการรับส่งข้อมูลที่ว่องใวกว่า
16. IP Flagmentation คือการส่งข้อมูลผ่านไปยังเส้นทางอื่นที่ไม่ใช้เส้นทางหลักเพื่อเพิ่มความใวในการส่งข้อมูล
17. Switch congestion ในกรีณีที่แพคเกจของสัญญาณมีปริมาณเกินกว่าเราวเตอร์จะส่งได้จะมีการตัดข้อมูลที่เกินออกก่อนแล้วร้องขอข้อมูลนั้นซ้ำเพื่อนำส่งใหม่เมื่อแพคเกจมีความเสถียร
18. TCP Flow Control คือการแยกข้อมูลส่วนเกินออกแล้วส่งตามไปทีหลังเพื่อส่งข้อมูลที่จำเป้นไปถึงโดยเร็ว
19. Internet Access การเชื่อมต่อข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอเน้ตทำให้การทำงานสามมารถทำได้ในวงกว้างไม่ถูกจำกัดด้านบริงาน
20 Email Protocal คือการส่งจดหมายอิเล็กโทรนิกถึงผู้รับโดยผ่านโปรโตคอล

The Lenux Basic Command ประมวลคำสั่งขั้นต้นของระบบปฏิบัติการลีนุก

ระบบปฎิบัติการLenuxนั้นเป็นOsแบบโอเพ่นซอส ซึ่งเปิดให้ผู้ใช้สามารถนำไปปรับแต่ง
แก้ใขให้เหมาะกับการใช้งานของตนเอง ซื้องเป็นOsที่มีการใช้กำลังทรัพยากรน้อย
จึงมีผู้ใช้จำนวนมากนำไปใช้เป็นOSของSEVERเพราะสามารถสร้างและจัดการระบบ
เครืองข่ายได้ง่ายเพราะเป้นผู้วางรากฐานของระบบเอง
ดังนั้นข้าพเจ้าจึงขอเสนอ คำสังเบื้องต้นของระบบปฏิบัติการLenuxขั้นพื้นฐานดังนี้

1. เป็นคำสั่งที่ใช้เปลี่ยนhostไปยังHost ที่เราต้องการ เช่น
>> c> telnet {hostname}
2. เป้นคำสั่งที่ใช้เคลื่อนย้ายไฟล์ไปยังที่ต่างๆผ่านHost ซึ่งข้าพเจ้าคิดว่าน่าจะย่อมาจาก
File transport รูปแบบของคำสั่งคือ Drive:File>{Host}
3. เป็นคำสั่งที่สั่งให้ระบบแสดงผลข้อมูลต่างๆ
4. เป็นการสั่งแสดงข้อมูลทางหน้าจอซึ่งสามารถเลื่อนจอถัดๆไปโดยใช้ปุ่มEnter
5. ใช้แสดงวันเวลา

จากที่เห็นข้างต้นจะเห้นว่ารูปแบบของคำสั่งจะคล้ายคำสั่งของระบบDosซึงง่ายต่อการเข้าใจ
ซื้อทั้งนี้ผุ้ใช้ควรมีความรู้ด้านภาษาอังกฤษดีในระดับหนึ่งจึงจะสามารถใช้งานได้อย่างคล่องแคล่ว

สรุปคำสั่งพื้นฐานของDos

Introduction
คำสั่งต่างๆของระบบDos นั้นจะมีรูปแบบที่ค่อนข้างง่ายไม่ซับซ้อนเท่าใด
ทั้งยัมมีฟร์อมของคำสั่งที่ค่อนข้างจะคงตัวเป็นเอกลักษณ์ซึ่งจะสามารถสรุปได้โดยรวมๆดังนี้

:\\\\

ทั้งนี้ในส่วนของไฟล์ไม่จำเป็นต้องมีก็ได้แต่ ในสวนของDriveและคำสั่งจำเป็นต้องมีเสมอไปเช่น
C:\\Data\\Format
เป็นต้น
สำหรับคำสั่งต่างๆของระบบDosที่ข้าพเจ้าพอจะคุ้นเคยและผ่านตามาบ้าง
จะเป็นการสังการระบบNetworkผ่านDos เช่น Net send, net view,net time เป็นต้น